1. คำว่า 'Stopping too soon' ในความหมายของผู้เขียยนเกี่ยวข้องกับการออกแบบระบบอย่างไร?
การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่อ่อนแอ คือ การที่นักพัฒนาซอฟต์แวร์เริ่มต้นที่จะทำสิ่งที่มีประโยชน์ แต่หยุดเร็วเกินไป (stop to soon) คือสิ่งที่ไม่ได้ประโยชน์ แต่มักจะเป็นอันตราย มี 3 สาเหตุที่ชัดเจน คือ
การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่อ่อนแอ คือ การที่นักพัฒนาซอฟต์แวร์เริ่มต้นที่จะทำสิ่งที่มีประโยชน์ แต่หยุดเร็วเกินไป (stop to soon) คือสิ่งที่ไม่ได้ประโยชน์ แต่มักจะเป็นอันตราย มี 3 สาเหตุที่ชัดเจน คือ
1. งานที่ทำก่อนที่จะสิ้นสุดเป็นส่วนที่ง่ายของงานสิ่งที่ยังคงยกเลิกได้จะต้องมีรายละเอียดงานที่น่าเบื่อ
2. ผู้ที่ทำผลงานนี้ไม่ได้รับการสอนวิธีการทำงานที่ถูกต้อง หรือวิธีการตรวจสอบเมื่องานเสร็จสมบูรณ์
3. ผู้ตรวจสอบการทำงานหรือการซื้อสินค้าที่ไม่ได้ยืนยันในที่เหมาะสมแล้วเสร็จของงานที่สำคัญ
การยกเลิกก่อนเวลาที่สมควรสังเกตุได้ตลอดการใช้งานการพัฒนาและปรับปรุงการใช้งาน การโพสต์ของผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ ปัญหาคือยังมีผู้เชี่ยวชาญเมื่อสนับสนุนลัอธิบายยกระบวนการพัฒยนาซอฟต์แวร์
2. การเขียน DFD (Data Flow Diagram) มีข้อดีและข้อเสียต่อการวิเคราะห์และออกแบบระบบอย่างไร?
ข้อดี
1. แผนภาพกระแสข้อมูลใช้งานได้อิสระโดยไม่จำเป็นต้องใช้เทคนิคเข้ามาช่วย
2. การใช้แผนภาพกระแสข้อมูลใช้งานได้ง่าย
3. เป็นเครื่องมือในการสื่อสารระหว่างทีมงานที่พัฒนาระบบและผู้ใช้งานระบบได้เป็นอย่างดี
4. แผนภาพกระแสข้อมูลทำให้ขั้นตอนทำงานง่าย และข้อมูลต่างๆ เป็นภาพการไหลของยข้อมูลระหว่างโพรเซสได้ข้อเสีย
1. ถ้า DFD ซับซ้อนมาก ทุกๆ นิ้วในกระดาษถูกใช้งานหมด แสดงว่า DFD นั้นควรแตกย่อยไปอีกระดับหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่ง
2. ข้อมูลที่ออกจากโพรเซส หรือผลลัพธ์มีข้อมูลขาเข้าไม่เพียงพอ เราจะต้องพิจารณาแผนภาพต่อไปอีก แต่ที่สำคัญไม่ควรใส่ข้อมูลที่แคบใช้เข้ามาในโพรเซสเป็นอันขาด
3. การตั้งชื่อโพรเซสนั้นไม่ง่ายนัก อาจจะมีปัญหา 2 อย่าง คือ โพรเซสนั้นควรจะแยกออกเป็น 2 ส่วน หรือเราไม่ทราบว่ามีอะไรว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้างในโพรเซสนั้น ๆ ในกรณีนี้เราต้องศึกษาระบบให้ละเอียดยิ่งขึ้น
3. เพื่อปรับปรุงการวิเคราะห์และออกแบบระบบ จากบทความที่กล่าวมา เราควรเพิ่มหลักและข้อระวังอย่างไรบ้าง?
1.ค้นหาปัญหาโอกาสและเป้าหมาย
2. ศึกษาความเป็นไปได้
3. วิเคราะห์ความต้องการระบบ
4. ออกแบบระบบ
5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทำเอกสาร
6. ทดสอบและบำรุงรักษาระบบ
7. ดำเนินงานและประเมินผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น